Trainings & Consulting Services

การจัดการนวัตกรรมขององค์กรตามแนวทางของ ISO 56002:2021 An Application of Innovation Management Systems

<p>ปัจจุบันผู้ประกอบการและผู้บริหารองค์กรทราบดีว่าจะต้องปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ ทั้งที่ เป็นโอกาสและความเสี่ยงเพื่อให้อยู่ในตลาดได้อย่างยั่งยืน การบริหารองค์กรให้ก้าวทันกับการเปลี่ยนแปลงเป็นสิ่ง สำคัญ “นวัตกรรม” จึงเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับองคกร์สมัยใหม่ การที่ผู้บริหารและพนักงานสามารถประสานสัมพันธ์และ สร้างสรรค์แนวคิด ใหม่ๆ ที่จะมาช่วยพัฒนาผลิตภัณฑ์ และปรับปรุงกระบวนการ ตลอดจนการปรับเปลี่ยนองคกรโดยรวม ไปในหนทางใหม่ๆที่ ไม่เหมือนเดิมจะนำมาซึ่ง สมรรถนะและความสามารถในการแข่งขันขององค์กรที่ ก้าวล้ำนำหน้าใน ที่สุดธุรกิจไม่ว่าจะเป็นภาคการผลิตหรือภาคบริการ พยายามยกระดับความสามารถการแข่งขัน ไม่เพียงแต่การลดต้นทุนหรือ เพิ่มคุณภาพสินค้าเท่านั้น หากแต่ต้องสร้างความโดดเด่นทั้งในด้านคุณค่า ความรวดเร็ว และความแตกต่าง เพื่อให้ เหนือคู่แข่ง ดังนั้นแต่และองค์กรต้องพัฒนาบุคลากร ผู้จัดการ ผู้บริหาร ให้มีความรู้ในการจัดการนวัตกรรมในองค์กร ตั้งแต่การกำหนดกลยุทธ์ด้านการมุ่งเน้นลูกค้าและบริการ กระบวนการรับฟังเสียงของลูกค้า การออกแบบวิเคราะห์ และ ปรับปรุงกระบวนการ โดยใช้ แนวคิดใหม่ผสานเข้า กับเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเครื่องมือที่เหมาะสม เพื่อสร้างความ ยั่งยืนและความได้เปรียบในการแข่งขันแบบก้าวกระโดด</p>

Online

ระยะเวลา: 1 วัน

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1. เข้าใจการทำงานของสมองรูปแบบและเทคนิควิธีการคิดที่ให้ผลลัพธ์ที่ต่างกัน
2. ฝึกปฏิบัติการคิดเชิงวิเคราะห์ ด้วยเทคนิควิธีการที่เหมาะสม เพื่อปรับปรุงความสามารถของผลิตภัณฑ์และกระบวนการ
3. ฝึกปฏิบัติการคิดเชิงสร้างสรรค์ ด้วยเทคนิควิธีการที่เหมาะสม เพื่อสร้างความแตกต่างอย่างโดดเด่น
4. ฝึกปฏิบัติการคิดเชิงนวัตกรรม และการประยุกต์ใช ้ เทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อสร้างสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีมาก่อน

เนื้อหาของหลักสูตร:

ความหมายและหลักการคิดของ Innovation Management Systems (InnMS) การทำความเข ้าใจและก าหนดคุณค่า (Realization of Value) แนวทางปฏิบัติ และหน้าที่ที่สำคัญของผู้นำ (Future Focused to Leader) หลักการของนวัตกรรม (Innovation Principle) การออกแบบและควบคุมกระบวนการให้เกิดระบบ Innovation Management Systems (Process Approach) การออกแบบองค์กรแห่งนวัตกรรม (Innovation Culture Building) ทักษะในการแก ้ปัญหาในองค์กรเพื่อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Manging Uncertainty)

ผู้ควรเข้ารับการอบรม

1. ผู้ที่ต้องการจัดทำ คงไว้ และปรับปรุงระบบการจัดการนวัตกรรมในองค์กร
2. ผู้ที่เป็นคณะทำงานการจัดการนวัตกรรมในองค์กร หรือผู้ตรวจประเมินภายใน ที่ต้องการทบทวนการตีความมาตรฐาน ของระบบบริหารงานการจัดการนวัตกรรม

3. ที่ปรึกษา วิทยากร อาจารย์ที่จะนำองค์ความรู้ไปใช ้ ในการถ่ายทอดต่อ
4. ผู้สนใจทั่วไป